คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปัญญาของแผ่นดิน
 
 
ข้อมูลทั่วไป
ประวัติภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
พันธกิจ และ วิสัยทัศน์
การเรียนการสอน
งานวิจัย
ส่งเสริมและบริการวิชาการ
การจัดการความรู้
ศูนย์ความเป็นเลิศ
บุคลากร
สถานที่ติดต่อ
ข่าว
faculty homepage
university homepage
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

บุคลากร


 

อ.ดร.ศรินรัตน์ ศรีประสงค์

ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล

โทรศัพท์: 0 2419 7466-80 ต่อ 1958
โทรสาร: 0 2412 8415
อีเมลล์: sarinrut.sri@mahidol.ac.th

การศึกษา:

วิทยาศาสตร์บัณฑิต (พยาบาลและผดุงครรภ์) เกียรตินิยมอันดับ 1
โครงการฝึกอบรมพยาบาลไอ.ซี.ยู.
การพยาบาลเฉพาะทาง (สาขาการพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก)
Advanced Cardiac Intervention II
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่)
ดุษฏีบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร์ Ph.D. (Nursing)

ความเชี่ยวชาญ:

การพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต

ผลงานตีพิมพ์:

  1. ศรินรัตน์ ศรีประสงค์. (2553). การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. ใน ปราณี ทู้ไพเราะ, วันดี โตสุขศรี, และ ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, บรรณาธิการ. การพยาบาลอายุรศาสตร์ 1 พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เอ็นพีเพรส. (ปรับปรุงใหม่)
  2. ศรินรัตน์ ศรีประสงค์. (2553). การพยาบาลผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดจังหวะ. ใน ปราณี ทู้ไพเราะ, วันดี โตสุขศรี, และ ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, บรรณาธิการ. การพยาบาลอายุรศาสตร์ 1 พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เอ็นพีเพรส. (ปรับปรุงใหม่)
  3. ศรินรัตน์ ศรีประสงค์. (2552). การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ. ใน ปราณี ทู้ไพเราะ, วันดี โตสุขศรี, และ ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, บรรณาธิการ. การพยาบาลอายุรศาสตร์ 1 พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: เอ็นพีเพรส.
  4. ศรินรัตน์ ศรีประสงค์. (2552). การพยาบาลผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดจังหวะ. ใน ปราณี ทู้ไพเราะ, วันดี โตสุขศรี, และ ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, บรรณาธิการ. การพยาบาลอายุรศาสตร์ 1 พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: เอ็นพีเพรส.
  5. ศิริอร สินธุ, ศิริลักษณ์ ศรีประสงค์.(2544). ภาวะสุขภาพและระดับกิจกรรมของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจระยะพักฟื้นภายหลังออกจากโรงพยาบาล. วารสารสภาการพยาบาล. 16(2), 52-68.

งานวิจัย:

  1. จีรภา กาญจนโกเมศ, วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, ศศิมา กุสุมา ณ อยุธยา, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, & ฉัตรกนก ทุมวิภาต. (2557). ปัจจัยทำนายคุณภาพการนอนหลับของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 25(2), 49 – 61.
  2. ปิโยรส เกษตรกาลาม์, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, วิชชุดา เจริญกิจการ, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, และ ฉัตรกนก ทุมวิภาต. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระยะเวลาในการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน. วารสารพยาบาลศาสตร์, 31(4), 23 – 33.
  3. ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, และ คณะ. (2554). ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการรับรู้ความพร้อมก่อนออกจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 22(2), 44 – 57.
  4. ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, และ คณะ. (2552). การทดสอบเชิงประจักษ์รูปแบบจำลองการทำหน้าที่ในกิจวัตรประจำวัน ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายภายหลังออกจากโรงพยาบาล. วารสารวิจัยทางการพยาบาล, 13(4), 268 – 284.

 

   

 


             คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 2 ถนนพรานนก แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700
             © สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2553, ติดต่อเว็บมาสเตอร์:nswww@mahidol.ac.th