welcome to our department
 

รองศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล

โทรศัพท์: (662) 441-5333 Ext. 2633
แฟกซ์: (662) 441 5442
อีเมล์: acharaporn.see@mahidol.ac.th

การศึกษา

  • พยาบาลศาสตรดุษฎี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ครุศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาการศึกษา) คณะครุศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พยาบาลศาสตรบัณฑิต (มารดา-ทารก) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • Postdoctoral Visiting Scholar at School of Nursing, University of North Carolina at Chapel Hill

ความเชี่ยวชาญ

  • Mental health promotion and prevention
  • Scale development
  • Qualitative research
  • Satir’s Self-transformation Therapy

ความสนใจพิเศษ

  • Health services system
  • Stress and coping
  • Depression
  • Psychiatric nursing
  • Psychological response to disaster

เกียรติบัตรและรางวัล

  • ได้รับรางวัลชมเชย ในโครงการรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น ประจำปี 2546 ในระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก จากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
  • รางวัลศิษย์เก่าพยาบาลศิริราชดีเด่น สาขาการวิจัยทางการพยาบาล ประจำปี 2555
  • เกียรติบัตรผู้ทำคุณประโยชน์ให้กับโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ประจำปี 2557

ผลงานตีพิมพ์ (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554):

รายงานการวิจัย

  1. Vannachawee U., Seeherunwong, A., Yuttatri P., & Chulakadabba S.  The effect of a drug adherence enhancement program on the drug adherence behaviors of patients with major depressive disorder in Thailand. 2016; 30(2):322-28 (corresponding author). DOI: http://dx.doi.org/10.1016/j.apnu.2015.12.001
  2. วไลลักษณ์ พุ่มพวง, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, นพพร ว่องสิริมาศ. การสร้างและทดสอบเครื่องมือประเมินปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการแสวงหาการช่วยเหลือทางจิตใจจากบุคลากรทางสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2558; 33(4):86-102.
  3. รัชฎาพร อึ้งเจริญ, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, รณชัย คงสกนธ์, ดุสิต สุจิรารัตน์. การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่และความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวะที่ติดและไม่ติดนิโคติน. วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา 2557; 12(3): 17-29.
  4. รัชฎาพร อึ้งเจริญ, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, รณชัย คงสกนธ์, ดุสิต สุจิรารัตน์. ความเชื่อและทัศนคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ติดและไม่ติดนิโคติน. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2557;32(4): 52-64.
  5. ดวงหทัย ยอดทอง, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, วรรณา คงสุริยนาวิน, อทิตยา พรชัยเกต โอวยอง. ความสัมพันธ์ระหว่าง อายุ ความรู้สึกเป็นภาระในการดูแล กับอาการซึมเศร้าในปู่ย่าตายายที่ดูแลหลาน. วารสารสภาการพยาบาล 2557; 27(1):108-121.
  6. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, ประภา ยุทธไตร. ปัจจัยสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการใช้สารเสพติดในทางที่ผิดและติดสารในผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ในระบบบังคับบำบัด. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 2556; 58(4):371-384
  7. นันทภัค ชนะพันธ์, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์,  ประภา ยุทธไตร, และรณชัย คงสกนธ์.    ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคม การรู้จักตนเอง และการคืนความสำคัญให้ตนเองในผู้หญิงโรคซึมเศร้า. วารสารสภาการพยาบาล 2556; (2):44-57.
  8. นุชจรี ทองหยอง,  อติรัตน์ วัฒนไพลิน, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, และประภา ยุทธไตร. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการเผชิญความเครียดต่ออาการซึมเศร้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2556; 31(3): 27-36.
  9. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, ประภา ยุทธไตร, อติรัตน์ วัฒนไพลิน, และ อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง. ประสบการณ์ของพยาบาลในการให้บริการสุขภาพจิตแก่ผู้ประสบภัยสึนามิ พ.ศ. 2547  หลังภัยพิบัติ 6 เดือนแรก. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2555; 30(1):17-27.
  10. เกวลี นาควิโรจน์, อทิตยา พรชยเกตุ โอว ยอง, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, ประภา ยุทธไตร. ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อการใช้ความรุนแรง รูปแบบการเลี้ยงดู และการปฏิบัติของเพื่อนกับพฤติกรรมรุนแรงของวัยรุ่น.วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2555; 20(3): 62-72.

ตำรา

  1. สุนีรัตน์ จันทร์ศรี  อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์ อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง. (2552). การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการพิทักษ์สิทธิ์ ของสตรีไทยที่ถูกสามีทำร้าย. วารสารสภาการพยาบาล, 24(4) 19-28.
  2. ไพโรจน์ สุขเกิด อติรัตน์ วัฒนไพลิน อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. (2552). การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อลดอาการซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้าโดยการออกกำลังกาย. วารสารสถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์, 5(1): 17-23.
  3. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. (2549). การประเมินอาการซึมเศร้า: ข้อคิดในการเลือกใช้เครื่องมือ. วารสารสภาการพยาบาล, 21(2): 17-30.
  4. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์ และประภา ยุทธไตร. (2550). การช่วยเหลือด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภัยพิบัติ. วารสารสภาการพยาบาล, 22(4): 10-22.

บทในหนังสือและตำรา

  1. ประภา ยุทธไตร และ อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. หน่วยที่ 7 การจัดการเพื่อการส่งเสริมสุขภาพจิตและการดูแลผู้มีปัญหาทางจิต. ใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์.  ประมวลสาระชุดวิชาสัมมนาประเด็นและแนวโน้มทางการบริหารการพยาบาล; 2559. หน้า 7-1 – 7-60.
  2. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, ประภา ยุทธไตร, พวงเพชร เกษรสมุทร, วารีรัตน์ ถาน้อย. การพยาบาลจิตเวชศาสตร์. กรุงเทพ: โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2557.
  3. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์ และ นภวัลย์ กัมพลาศิริ.  บทที่ 1 วิวัฒนาการ ประเด็นและแนวโน้มทางการพยาบาลจิตเวช. ใน: อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์และคณะ. (บรรณาธิการ). การพยาบาลจิตเวชศาสตร์. กรุงเทพ: โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2557. หน้า 3-22.
  4. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์ และ นภวัลย์ กัมพลาศิริ. บทที่ 2 สุขภาพจิต การเจ็บป่วยทางจิต และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลจิตเวช.  ใน: อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์และคณะ. (บรรณาธิการ). การพยาบาลจิตเวชศาสตร์. กรุงเทพ: โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2557. หน้า 23-34.
  5. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. บทที่ 11 พฤติกรรมบำบัด. ใน: อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์และคณะ. (บรรณาธิการ). การพยาบาลจิตเวชศาสตร์. กรุงเทพ: โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2557. หน้า 177-88.
  6. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์.  บทที่ 13 ครอบครัวบำบัดและการบำบัดเป็นรายครอบครัว.  ใน: อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์และคณะ. (บรรณาธิการ). การพยาบาลจิตเวชศาสตร์. กรุงเทพ: โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2557. หน้า 203-14.
  7. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. บทที่ 21 การพยาบาลบุคคลที่มีโรคอารมณ์แปรปรวน. ใน: อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์และคณะ. (บรรณาธิการ). การพยาบาลจิตเวชศาสตร์. กรุงเทพ: โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2557. หน้า 375-424.
  8. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์ และ ประภา ยุทธไตร. การศึกษาข้อมูลการตรวจพิสูจน์ทางสังคมในระบบบังคับบำบัด. ใน: รณชัย คงสกนธ์ และ เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา (บรรณาธิการ). การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ถูกบังคับบำบัด ภายใต้พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545.  กรุงเทพมหานคร: บจก. ธนภัทร (2006) พริ้นติ้ง; 2555. หน้า 259-94.
  9. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์ และ ประภา ยุทธไตร. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นผู้ใช้ยาเสพติดแบบพึ่งพาในผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด. ใน: รณชัย คงสกนธ์ และ เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา (บรรณาธิการ).  การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ถูกบังคับบำบัด ภายใต้พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545.  กรุงเทพมหานคร: บจก. ธนภัทร (2006) พริ้นติ้ง; 2555. หน้า 377-88.
  10. ประภา ยุทธไตร และ อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะทางจิตวิทยากับการวินิจฉัยให้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพและผลการฟื้นฟูสมรรถภาพในผู้เสพยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัดในระบบบังคับบำบัด. ใน รณชัย คงสกนธ์ และ เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา (บรรณาธิการ).  การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ถูกบังคับบำบัด ภายใต้พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545.  กรุงเทพมหานคร: บจก. ธนภัทร (2006) พริ้นติ้ง; 2555. หน้า 243-58.

บทความวิชาการ

  1. วรรณา เรืองประยูร, อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง, และ อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. การบำบัดโดยการแก้ปัญหาเพื่อลดอาการซึมเศร้าในผู้สูงอายุ: การสังเคราะห์งานวิจัย. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต 2557; 28(3):37-48.
  2. อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. ประเด็นและความท้าทายในการบรรเทาสุขภาพจิตผู้ประสบภัย. ใน: หนังสือประกอบการประชุมวิชาการคณะพยาบาลศาสตร์ ครั้งที่ 22 เรื่อง Disaster Management: Taking Action to Better Health Outcomes. ในวันที่ 14-16 มกราคม 2556 ณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา (e-book).
  3. ธณารัตน์ พลับพลาไชย, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, และรุ้งนภา ผาณิตรัตน์. การบำบัดโดยใช้การเจริญสติเป็นฐานเพื่อลดความเครียดจากความต้องการดื่มในผู้ติดแอลกอฮอล์: การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 2556; 58(2):207-18.
  4. พิมพ์ชนา ศิริเหมอนันต์, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง. การบำบัดการรู้คิด-ปรับพฤติกรรมเพื่อลดอาการทางบวกในผู้ป่วยจิตเภท: การทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อใช้ในการปฏิบัติ. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 2555; 57(2):234-48.
 

 
  คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล,
2 ถนนพรานนก, เขตบางกอกน้อย  กรุงเทพฯ  10700
© Faculty of Nursing, Mahidol University. All rights reserved.
contact webmaster